การคัดลายมือ
1. นักเรียนบอกประโยชน์ของการคัดลายมือ
2. ศึกษาความรู้และตัวอย่างการคัดลายมือแบบกระทรวงศึกษาธิการ ตามวีดีโอข้างล่าง
3. ศึกษาตัวอย่างการคัดลายมือแบบอาลักษณ์ตามวีดีข้างล่างนี้
4. ช่วยกันสรุปความรู้และข้อปฏิบัติในการคัดลายมือ อาจสรุปได้ดังนี้
ลายมือ คือ ตัวหนังสือเขียน ที่มีลักษณะแสดงว่า เป็นของผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ
การคัดลายมือ นอกจากจะทำให้ผู้คัดเขียนหนังสือได้สวยงามแล้ว ยังเป็นการฝึกให้รู้จักรักษาความสะอาด และเขียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อยอีกด้วย เราจึงควรฝึกคัดลายมือให้ถูกวิธี เพราะถ้าเขียนผิดบ่อยๆ จะทำให้เคยชิน และติดเป็นนิสัย ซึ่งจะทำให้กลายเป็ฯคนที่มีลายมือไม่สวยตลอดไป
การคัดลายมือให้ถูกวิธีควรปฏิบัติ ดังนี้
1. นั่ง วางสมุด และจับดินสอด้วยท่าทางที่ถูกต้อง
2. ตั้งใจและมีสมาธิในการคัด
3. เขียนตัวอักษรถูกต้องตามแบบการเขียนดักษรไทย
4. เขียนพยัญชนะจรดเส้นบรรทัดบน-ล่าง
5. เว้นระยะช่องไฟให้เทากันและสม่ำเสมอ
6. วางรูปพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ให้ถูกตำแหน่ง
1. นั่ง วางสมุด และจับดินสอด้วยท่าทางที่ถูกต้อง
2. ตั้งใจและมีสมาธิในการคัด
3. เขียนตัวอักษรถูกต้องตามแบบการเขียนดักษรไทย
4. เขียนพยัญชนะจรดเส้นบรรทัดบน-ล่าง
5. เว้นระยะช่องไฟให้เทากันและสม่ำเสมอ
6. วางรูปพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ให้ถูกตำแหน่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น